"สังคมเปลี่ยนไป" แนวทางการใช้ชีวิตเปลี่ยนตามพระพุทธศาสนามีคำแนะนำอย่างไร ?
สังคมมนุษย์ยุคโซเชียลเน็ตเวิร์กในทุกวันนี้ มีโคชช่วยแนะนำแนวทางการใช้ชีวิตหลายรูปแบบมาก จนบางครั้งก็ไม่รู้ว่าจะเชื่อใครดีอยากทราบว่า ในพระพุทธศาสนามีคำแนะนำแนวทางการใช้ชีวิตที่เป็นมาตรฐานบ้างหรือไม่ว่าควรเป็นอย่างไร ?
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว...ก้าวสู่รัตนโกสินทร์ตอนกลาง
แผ่นดินสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางเริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นยุคที่สยามเปิดประเทศสู่อารยธรรมตะวันตกและเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาชาติ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม
มงคลที่ ๑๔ ทำงานไม่คั่งค้าง - ผู้ไม่เกียจคร้าน
ในสังคมของชาวโลกนั้น ความสำเร็จของงานเป็นสิ่งที่ทุกๆ คนต่างปรารถนา งานทุกอย่างจะสำเร็จได้เป็นอย่างดี จะต้องอาศัยธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วย ซึ่งธรรมบทนั้นได้แก่ อิทธิบาท ๔ คือ มีความรักในงานที่จะทำ เห็นความสำคัญของงานนั้น และใช้ความเพียรพยายาม มุมานะ อีกทั้งมีความเอาใจใส่ พิจารณาตรวจตรางานอยู่เสมอและหมั่นปรับปรุงให้ดีขึ้นเรื่อยๆ เช่นนี้แล้ว ย่อมบรรลุผลที่ตั้งใจอย่างแน่นอน
วิบากกรรมพิมพ์ธนบัตรปลอม
คนพิมพ์ธนบัตรปลอมกับคนใช้ธนบัตรปลอมจะได้รับวิบากกรรมอย่างไร และคนใช้ธนบัตรปลอมทั้งๆ ที่รู้แล้วใช้ กับคนที่ใช้เพราะไม่รู้ จะได้รับกรรมต่างกันอย่างไร
มิตรแท้ มิตรเทียม
เพื่อนหรือมิตรมีกี่ประเภท มีลักษณะอย่างไรบ้าง ? แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าใครเป็นมิตรแท้มิตรเทียม ? วิธีรักษามิตรแท้ให้อยู่กับเรานาน ๆ ต้องทำอย่างไร ?
อรหัตตภูมิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะที่ ๔ เป็นไฉน ภิกษุในศาสนานี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยอภิญญาของตนเอง เข้าถึงทิฏฐธรรมอยู่ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลเช่นนี้คือสมณะที่ ๔ ในพระพุทธศาสนา
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สารธรรมของชีวิต
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมา ต่างแสวงหาทางหลุดพ้นจากความทุกข์ ซึ่งเป็นสาระที่แท้จริงสำหรับชีวิต แต่เนื่องจากปัญญาและวิจารณญาณที่แตกต่างกัน ทำให้มีการแสวงหากันไปต่างๆ นานา พบทั้งสิ่งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้อง ยิ่งถ้าขาดกัลยาณมิตร ก็เหมือนกับคนเดินทางในที่มืด
อิทธิบาท ๔ : มรดกธรรมของหลวงปู่วัดปากน้ำ
ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา นี้เรียกว่า อิทธิบาท ๔ เป็นหัวใจแห่งความสำเร็จทั้งมวลแปลอย่างจำได้ง่ายว่า ปักใจ บากบั่น วิจารณ์ ทดลอง ไม่ว่าจะทำกิจการใด ถ้าประกอบด้วยอิทธิบาท ๔ อย่างนี้ เป็นสำเร็จทั้งสิ้น
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๔ )
เรามักจะเห็นเศรษฐีที่ตระหนี่ในการบริจาค แต่ตัวเองใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่าย แม้ของกินของใช้จะแพงแค่ไหน ก็กล้าทุ่มเงินซื้อหามา แสวงหาเครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้คนเขาชื่นชมว่า ตัวเองเป็นคนรํ่ารวย แต่เศรษฐีท่านนี้กลับตระหนี่เป็นอย่างมาก จึงเป็น สิ่งที่พวกเราควรศึกษาว่า ทำอย่างไร ท่านจึงจะเป็นคนรวย ทั้งทรัพย์และน้ำใจ รวยทั้งภพนี้และทุกภพทุกชาติ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว